รู้จักกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบ

  • โดย :
  • รหัส : CHULAMOOC5025
  • หมู่ :
    สุขภาพ
ลงทะเบียนเรียน

ช่วงเวลาเรียนสำหรับบุคคลทั่วไป

รุ่นที่ 2
  • เริ่มลงทะเบียน 6 มิถุนายน 2565
  • สิ้นสุดการเรียน 31 กรกฎาคม 2565
รุ่นที่ 1
  • เริ่มลงทะเบียน 6 สิงหาคม 2564
  • สิ้นสุดการเรียน 30 กันยายน 2564
เนื้อหา
5 บทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
นิสิต นักศึกษา และบุคคลทั่วไป จำนวน 5,000 คน
เกณฑ์การเรียนจบ
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
แพลตฟอร์ม
myCourseVille

เกี่ยวกับรายวิชา

เนื้อหาวิชารู้จักกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบ จะมุ่งเน้นความรู้เรื่องของกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลก การปกป้องนโยบายสาธารณะจากธุรกิจยาสูบ มาตรการเกี่ยวกับการลดอุปสงค์ของยาสูบ เช่น มาตรการด้านราคา ด้านภาษี มาตรการภาพ คำเตือน การโฆษณา มาตรการการควบคุมการผลิต เป็นต้น

หัวข้อวิชา รู้จักกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบ

บทที่ 1 กรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลก

บทที่ 2 การปกป้องนโยบายสาธารณะจากธุรกิจยาสูบ

บทที่ 3 มาตรการเกี่ยวกับการลดอุปสงค์ของยาสูบ

3.1 มาตรการด้านราคาและด้านภาษี

3.2 มาตรการด้านราคาและด้านภาษีกับการดำเนินการในประเทศไทย

3.3 การป้องกันบุคคลจากการสูดดมควันยาสูบ

3.4 นโยบายและมาตรการภาพคำเตือนผลิตภัณฑ์ยาสูบ

3.5 มาตรการห้ามโฆษณา ห้ามส่งเสริมการขายและห้ามให้ทุนอุปถัมภ์

3.6 มาตรการลดการเสพติดและการบำบัดรักษา

บทที่ 4 มาตรการเกี่ยวกับการลดอุปทานของยาสูบ

4.1 การควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบผิดกฎหมาย

4.2 การห้ามขายให้เด็ก และห้ามขายโดยเด็ก

บทที่ 5 กรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบองค์การอนามัยโลกกับการดำเนินงานในประเทศไทย

วัตถุประสงค์

    1. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลกที่ประเทศไทยมีพันธกรณี
    2. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงมาตรการต่าง ๆ ภายใต้กรอบ
    3. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงมาตรการต่าง ๆ ของประเทศไทยที่สอดคล้องไปกับกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลก และประเด็นที่ยังคงเป็นช่องว่างที่ต้องการพัฒนาต่อไป

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไปจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

หมายเหตุ

    1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป
    2. ผู้เรียนจะสามารถทำข้อสอบ Posttest ได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น

อาจารย์ผู้สอน

    • ผศ. ดร.สุนิดา ปรีชาวงษ์
    • คณะพยาบาลศาสตร์
    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    • ผศ. ดร.สุวิมล โรจนาวี
    • คณะพยาบาลศาสตร์
    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    • รศ. ดร.เนาวรัตน์ เจริญค้า
    • คณะสาธารณสุขศาสตร์
    • มหาวิทยาลัยมหิดล
    • รศ. ดร.นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์
    • คณะสาธารณสุขศาสตร์
    • มหาวิทยาลัยมหิดล
    • ดร.วศิน พิพัฒนฉัตร
    • ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ มหาวิทยาลัยมหิดล
    • มหาวิทยาลัยมหิดล
    • อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
    • กรรมการศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์
    • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    • ทพญ.วิกุล วิสาลเสสถ์
    • สถาบันส่งเสริมสุขภาพไทย
    • มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ
    • ดร. ทพญ.ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์
    • กองโรคไม่ติดต่อ
    • กรมควบคุมโรค
    • รศ. ดร.สุชาดา ตั้งทางธรรม
    • สถาบันส่งเสริมสุขภาพไทย มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ

คอร์สแนะนำ