ความผกผันทางประชากรกับธุรกิจ

  • โดย : ศ. ดร.เกื้อ วงศ์บุญสิน
  • รหัส : CHULAMOOC3010
  • หมู่ :
    การจัดการ
ลงทะเบียนเรียน

ช่วงเวลาเรียนสำหรับบุคคลทั่วไป

รุ่นที่ 6
  • เริ่มลงทะเบียน 5 มกราคม 2567
  • สิ้นสุดการเรียน 29 กุมภาพันธ์ 2567
รุ่นที่ 5
  • เริ่มลงทะเบียน 2 มิถุนายน 2566
  • สิ้นสุดการเรียน 31 กรกฎาคม 2566
รุ่นที่ 4
  • เริ่มลงทะเบียน มิถุนายน 2565
  • สิ้นสุดการเรียน 31 กรกฎาคม 2565
รุ่นที่ 3
  • เริ่มลงทะเบียน มกราคม 2564
  • สิ้นสุดการเรียน 28 กุมภาพันธ์ 2564
รุ่นที่ 2
  • เริ่มลงทะเบียน สิงหาคม 2563
  • สิ้นสุดการเรียน 30 กันยายน 2563
รุ่นที่ 1
  • เริ่มลงทะเบียน กันยายน 2562
  • สิ้นสุดการเรียน 31 ตุลาคม 2562
เนื้อหา
5 บทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
นิสิต นักศึกษา และบุคคลทั่วไป จำนวน 5,000 คน
เกณฑ์การเรียนจบ
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
แพลตฟอร์ม
myCourseVille

เกี่ยวกับรายวิชา

ความผกผันทางประชากรกับธุรกิจ ต้องการนำเสนอความรู้ความเข้าใจในความผกผันทางประชากร (Demographic Disruption) ซึ่งเป็นสิ่งสะท้อนถึงความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับประชากร และเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งในการขับเคลื่อนประเทศไทยให้เข้าสู่ยุค 4.0 ที่จะนำข้อมูลความผกผันของประชากรมาใช้วางแผนกลยุทธ์เพื่อรับมือผลกระทบต่าง ๆ ในอนาคต

เนื้อหารายวิชา

    เนื้อหารายวิชา ความผกผันทางประชากรกับธุรกิจ ประกอบด้วย

    บทที่ 1 ความสำคัญของความผกผันทางประชากร

    บทที่ 2 การเตรียมความพร้อมต่อสังคมผู้สูงวัย

    บทที่ 3 การตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับประชากร

    บทที่ 4 การกำหนดกลยุทธและแผนปฏิบัติการทางธุรกิจให้สัมพันธ์กับความผกผันทางประชากร

    บทที่ 5 สรุปความผกผันของประชากรและการกำหนดกลยุทธ์

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

วัตถุประสงค์

      1. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงความสำคัญของความผกผันทางประชากร

      2. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงการเตรียมความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ

      3. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงการผกผันทางประชากรส่งผลอย่างไรต่อธุรกิจ

หมายเหตุ

1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป

2. แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น

อาจารย์ผู้สอน

    • ศ. ดร.เกื้อ วงศ์บุญสิน
    • สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์
    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คอร์สแนะนำ