Introduction to Smart Grid

  • โดย : คณาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รหัส : CHULAMOOC2003
  • หมู่ :
    เทคโนโลยี
ลงทะเบียนเรียน

ช่วงเวลาเรียนสำหรับบุคคลทั่วไป

รุ่นที่ 6
  • เริ่มลงทะเบียน 4 ตุลาคม 2567
  • สิ้นสุดการเรียน 30 พฤศจิกายน 2567
รุ่นที่ 5
  • เริ่มลงทะเบียน 6 ตุลาคม 2566
  • สิ้นสุดการเรียน 30 พฤศจิกายน 2566
รุ่นที่ 4
  • เริ่มลงทะเบียน 3 มีนาคม 2566
  • สิ้นสุดการเรียน 30 เมษายน 2566
รุ่นที่ 3
  • เริ่มลงทะเบียน 22 มกราคม 2564
  • สิ้นสุดการเรียน 31 มีนาคม 2564
รุ่นที่ 2
  • เริ่มลงทะเบียน 17 เมษายน 2563
  • สิ้นสุดการเรียน 30 มิถุนายน 2563
รุ่นที่ 1
  • เริ่มลงทะเบียน 16 สิงหาคม 2562
  • สิ้นสุดการเรียน 31 ตุลาคม 2562
เนื้อหา
6 บทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
นิสิต นักศึกษา และบุคคลทั่วไป จำนวน 5,000 คน
เกณฑ์การเรียนจบ
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
แพลตฟอร์ม
myCourseVille

เกี่ยวกับรายวิชา

Introduction to Smart Grid จะบรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับระบบโครงข่ายไฟ้ฟ้าสมาร์ทกริด เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการแนะนำให้ผู้เรียนรู้จักกับแนวคิดการพัฒนาระบบโครงข่ายไฟ้ฟ้าสมาร์ทกริดในเบื้องต้น แรงขับเคลื่อนที่สำคัญในการพัฒนา เปรียบเทียบความแตกต่างหลักระหว่างระบบโครงข่ายไฟฟ้าแบบเดิมกับแบบสมาร์ทกริด เข้าใจองค์ประกอบพื้นฐานของสมาร์ทกริด พร้อมทั้งการยกตัวอย่างเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

เนื้อหารายวิชา

    เนื้อหาวิชา Introduction to Smart Grid ประกอบด้วย

    บทที่ 1 ทำไมต้อง สมาร์ทกริด ?

    บทที่ 2 สมาร์ทกริด จะเกิดขึ้นได้อย่างไร ?

    บทที่ 3 เทคโนโลยี PV, ESS, EV กับสมาร์ทกริด

    บทที่ 4 สมาร์ทกริดเพื่อการพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าไทย

    บทที่ 5 แนะนำโครงการ Smart Grid ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก

    บทที่ 6 ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร (CU-BEMS: กรณีศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

วัตถุประสงค์

    1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายของระบบโครงข่ายไฟฟ้าสมาร์ทกริดได้

    2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายองค์ประกอบพื้นฐานของสมาร์ทกริดได้

    3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายประโยชน์ของการพัฒนาสมาร์ทกริดได้

หมายเหตุ

1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป

2. แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น

อาจารย์ผู้สอน

    • รศ. ดร.แนบบุญ หุนเจริญ

    • ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
      คณะวิศวกรรมศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • รศ. ดร.กุลยศ อุดมวงศ์เสรี

    • ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
      คณะวิศวกรรมศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • รศ. ดร.เชาวน์ดิศ อัศวกุล

    • ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
      คณะวิศวกรรมศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • ผศ. ดร.สมบูรณ์ แสงวงค์วาณิชย์

    • ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
      คณะวิศวกรรมศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • รศ. ดร.วันเฉลิม โปรา

    • ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
      คณะวิศวกรรมศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คอร์สแนะนำ