Exploring Digital Technology Landscape

  • โดย : ผศ. ดร.นฤมล ประทานวณิช
  • รหัส : CHULAMOOC2671
  • หมู่ :
    เทคโนโลยี
ลงทะเบียนเรียน

ช่วงเวลาเรียนสำหรับบุคคลทั่วไป

รุ่นที่ 3
  • เริ่มลงทะเบียน 8 พฤศจิกายน 2567
  • สิ้นสุดการเรียน 31 ธันวาคม 2567
รุ่นที่ 2
  • เริ่มลงทะเบียน 3 พฤศจิกายน 2566
  • สิ้นสุดการเรียน 31 ธันวาคม 2566
รุ่นที่ 1
  • เริ่มลงทะเบียน 6 มกราคม 2566
  • สิ้นสุดการเรียน 28 กุมภาพันธ์ 2566
เนื้อหา
8 บทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
นิสิต นักศึกษา และบุคคลทั่วไป จำนวน 5,000 คน
เกณฑ์การเรียนจบ
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
แพลตฟอร์ม
myCourseVille

เกี่ยวกับรายวิชา

ในยุคหลังจากที่อินเทอร์เน็ตถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย เทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ถูกพัฒนาขึ้นอย่างก้าวกระโดด ซึ่งมีผลกระทบกับบุคคล หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ ในหลาย ๆ ด้าน รายวิชานี้จะให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทั้งที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน และเทคโนโลยีที่กำลังพัฒนาสำหรับโลกอนาคต อินเทอร์เน็ต วิวัฒนาการของเว็บไซต์ บริการบนคลาวด์ อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง การวิเคราะห์ข้อมูล ปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน ความปลอดภัยทางไซเบอร์ ความเป็นส่วนตัวของข้อมูล

เนื้อหารายวิชา

    หัวข้อวิชา Exploring Digital Technology Landscape ประกอบด้วย

    Chapter 1 The Internet Era

    Chapter 2 The Web Evolution

    Chapter 3 Moving to the Cloud

    Chapter 4 Internet of thing (IoT)

    Chapter 5 The Data-driven World

    Chapter 6 Blockchain: The End of Middlemen

    Chapter 7 Human Protection in The Digital Age

    Chapter 8 Summary

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป จึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

วัตถุประสงค์

    1. อธิบายวิวัฒนาการของอินเทอร์เน็ต

    2. อธิบายแนวคิดเบื้องต้นของเว็บไซต์แต่ละยุค

    3. อธิบายโครงสร้างพื้นฐานของบริการบนคลาวด์

    4. อธิบายระบบนิเวศพื้นฐานในการเชื่อมโยงอุปกรณ์อัจฉริยะผ่านอินเตอร์เน็ต

    5. อธิบายแนวคิดเบื้องต้นในการวิเคราะห์ข้อมูลและการเรียนรู้ของเครื่อง

    6. อธิบายแนวคิดเบื้องต้นของเทคโนโลยีบล็อกเชน

    7. อธิบายแนวคิดเบื้องต้นในความปลอดภัยทางไซเบอร์และความเป็นส่วนตัวของข้อมูล

หมายเหตุ

1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป

2. ผู้เรียนจะสามารถทำข้อสอบ Posttest ได้มากกว่า 1 ครั้ง หรือจนกว่าจะสอบผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด และได้รับ Certificate

อาจารย์ผู้สอน

    • ผศ. ดร.นฤมล ประทานวณิช

    • ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์
      คณะวิทยาศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คอร์สแนะนำ