ช่วงเวลาเรียนสำหรับบุคคลทั่วไป
เกี่ยวกับรายวิชา
ธรณีแปรสัณฐาน จะนำเสนอเนื้อหาวิชาเกี่ยวกับ การแปลความทางธรณีแปรสัณฐานได้จากการมองสภาพพื้นผิวของโลก และเข้าใจหลักการต่าง ๆ เหล่านี้ ได้แก่ ธรณีแอ่นตัว (Geosyncline) หลักฐานการแปรสัณฐาน (Evidence of Tectonic) แผ่นเปลือกโลกและการเคลื่อนที่ (Plate and Movement) การเคลื่อนที่ออกจากกัน (Divergent Movement) การเคลื่อนที่เข้าหากัน (Convergent Movement) การเคลื่อนที่ผ่านกัน (Transform Movement) เมื่อผู้เรียนได้เรียนวิชานี้แล้วจะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทางธรณีแปรสัณฐานในแบบต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น
เนื้อหารายวิชา
วิชา ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 1 ทบทวนความรู้ภูมิศาสตร์
บทที่ 2 ธรณีแอ่นตัว
บทที่ 3 แนวคิดทวีปเคลื่อน
บทที่ 4 แนวคิดมหาสุมทรแผ่กว้าง
บทที่ 5 แนวคิด ไวน์-แมททิว-มอร์เลย์
บทที่ 6 แผ่นเปลือกโลก และการเคลื่อนที่
บทที่ 7 จุดร้อน ร่องรอยการเดินทางของแผ่นเปลือกโลก
บทที่ 8 การเคลื่อนที่ของขั้วโลก
บทที่ 9 การเคลื่อนที่ออกจากกัน
บทที่ 10 การเคลื่อนที่เข้าหากัน
บทที่ 11 การเคลื่อนที่ผ่านกัน
เกณฑ์การวัดและประเมินผล
มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไปจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้
วัตถุประสงค์
หมายเหตุ
อาจารย์ผู้สอน
ศ. ดร.สันติ ภัยหลบลี้
ภาควิชาธรณีวิทยา
คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย