หัตถการเบื้องต้นทางศัลยศาสตร์อุบัติเหตุสำหรับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป

  • โดย : คณาจารย์หน่วยศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รหัส : CHULAMOOC5003
  • หมู่ :
    สุขภาพ
ลงทะเบียนเรียน

ช่วงเวลาเรียนสำหรับบุคคลทั่วไป

เปิดล่าสุด
รุ่นที่ 1
  • เรียนได้ตลอดปี 2568
เนื้อหา
11 บทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
สำหรับผู้ที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม นิสิต/นักศึกษาแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป จำนวน 4,000 คน
เกณฑ์การเรียนจบ
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
แพลตฟอร์ม
myCourseVille

เกี่ยวกับรายวิชา

รายวิชา หัตถการเบื้องต้นทางศัลยศาสตร์อุบัติเหตุสำหรับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป จะนำเสนอความรู้เกี่ยวกับการจำลองหัตถการช่วยชีวิตผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ห้องฉุกเฉินเป็นเรื่องที่จำเป็นและสำคัญเพราะเป็นหัตถการที่แพทย์ทุกคนจำเป็นต้องทำเป็น

** คำเตือน **

!! หัตถการในรายวิชานี้ต้องทำโดยผู้มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือภายใต้การควบคุมดูแลของผู้มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม เท่านั้น !!

เนื้อหารายวิชา

    รายวิชา หัตถการเบื้องต้นทางศัลยศาสตร์อุบัติเหตุสำหรับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป ประกอบด้วย

    บทที่ 1 Basic airway maneuver

    บทที่ 2 Finger and tube thoracostomy

    บทที่ 3 Orotracheal intubation in trauma patient

    บทที่ 4 Restriction of cervical spine motion

    บทที่ 5 Surgical cricothyroidotomy

    บทที่ 6 Needle Thoracostomy

    บทที่ 7 Three side occlusive dressing for open pneumothorax

    บทที่ 8 Saphenous venesection

    บทที่ 9 Intraosseous infusion

    บทที่ 10 Pelvic wrap

    บทที่ 11 กรณีศึกษา


เกณฑ์การวัดและประเมินผล

มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

วัตถุประสงค์

    1. เพื่อให้นิสิตแพทย์ที่ผ่านรายวิชานี้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหัตถการเบื้องต้นทางศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ

    2. นิสิตแพทย์ที่ผ่านรายวิชานี้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับหัตถการเบื้องต้นทางศัลยศาสตร์อุบัติเหตุไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยจริงได้

    3. นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติและแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปสามารถทบทวนความรู้ได้ตลอดเวลา

หมายเหตุ

1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป

2. แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) ในแต่ละวิชาจะสามารถทำได้แค่ครั้งเดียวเท่านั้น

อาจารย์ผู้สอน

    • ​ศ. นพ.สุวิทย์ ศรีอัษฎาพร

    • หน่วยศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ

      คณะแพทยศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • รศ. นพ.รัฐพลี ภาคอรรถ

    • หน่วยศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ

      คณะแพทยศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • รศ. พญ.สุกัญญา ศรีอัษฎาพร

    • หน่วยศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ
      คณะแพทยศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • รศ. นพ.กฤตยา กฤตยากีรณ

    • หน่วยศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ
      คณะแพทยศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • ศ. นพ.ศุภฤกษ์ ปรีชายุทธ

    • หน่วยศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ

      คณะแพทยศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • ผศ. นพ.พสุรเชษฐ์ สมร

    • หน่วยศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ

      คณะแพทยศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • อ. นพ.ญฐวรรธ นฤพนธ์จิรกุล

    • หน่วยศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ

      คณะแพทยศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    • อ. นพ.อภินันท์ อุทัยไพศาลวงศ์

    • หน่วยศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ
      คณะแพทยศาสตร์

    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คอร์สแนะนำ