SDGs x CHULA : จุฬากับนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

  • โดย : ทีมคณาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รหัส : CHULAMOOC3019
  • หมู่ :
    การจัดการ
ลงทะเบียนเรียน

ช่วงเวลาเรียนสำหรับบุคคลทั่วไป

รุ่นที่ 1
  • เริ่มลงทะเบียน 7 ตุลาคม 2565
  • สิ้นสุดการเรียน 30 พฤศจิกายน 2565
เนื้อหา
17 บทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
นิสิต นักศึกษา และบุคคลทั่วไป จำนวน 5,000 คน
เกณฑ์การเรียนจบ
ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป
แพลตฟอร์ม
myCourseVille

เกี่ยวกับรายวิชา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมุ่งมั่นที่จะบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ประการ (SDGs) ของสหประชาชาติผ่านนโยบายและการดําเนินงานการวิจัยและนวัตกรรมการเรียนการสอนตลอดจนการเข้าถึงและการมีส่วนร่วม ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้จึงได้ดําเนินการจัดทําสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง SDGs x CHULA : จุฬากับนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยจะมีเนื้อหาที่นําเสนอเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ข้อ ซึ่งกําหนดโดยสมัชชาแห่งสหประชาชาติ และนําเสนอเกี่ยวกับนวัตกรรมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับการร่วมขับเคลื่อนความยั่งยืน

เนื้อหารายวิชา

    หัวข้อวิชา SDGs x CHULA : จุฬากับนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ประกอบด้วย

    บทที่ 1 Goal 1 No Poverty ขจัดความยากจน

    บทที่ 2 Goal 2 Zero Hunger ขจัดความหิวโหย

    บทที่ 3 Goal 3 Good Health and Well Being สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี

    บทที่ 4 Goal 4 Quality Education การศึกษาที่มีคุณภาพ

    บทที่ 5 Goal 5 Gender Equality ความเท่าเทียมระหว่างเพศ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สตรีและเด็กหญิง

    บทที่ 6 Goal 6 Clean Water and Sanitation ให้ทุกคนเข้าถึงพลังงานที่ยั่งยืนได้ตามกําลังของตน

    บทที่ 7 Goal 7 Affordable and Clean Energy ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน

    บทที่ 8 Goal 8 Decent Work and Economic Growth ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน

    บทที่ 9 Goal 9 Industry, Innovation and Infrastructure ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนและนวัตกรรม

    บทที่ 10 Goal 10 Reduced Inequality ลดความเหลื่อมล้ําทั้งในภายในและระหว่างประเทศ

    บทที่ 11 Goal 11 สร้างเมืองและการตั้งถิ่นฐานที่ปลอดภัย Sustainable Cities and Communities

    บทที่ 12 Goal 12 Responsible Consumption and Production สร้างรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน

    บทที่ 13 Goal 13 Climate Action ดําเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อแก้ปัญหาโลกร้อน

    บทที่ 14 Goal 14 Life Below Water อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน

    บทที่ 15 Goal 15 Life on Land ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ยั่งยืนของระบบนิเวศบนบก

    บทที่ 16 Goal 16 Peace Justice and Strong Institution ส่งเสริมสันติภาพและการเข้าถึงระบบยุติธรรมอย่างเท่าเทียมกัน

    บทที่ 17 Goal 17 Partnerships for the Goals สร้างความร่วมมือระดับสากลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะเป็นคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 100 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไป และเรียนจบภายในเวลาที่กำหนดจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้

วัตถุประสงค์

    1. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ข้อ

    2. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยต่อสังคม

หมายเหตุ

1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป

2. ผู้เรียนจะสามารถทำข้อสอบ Posttest ได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น

อาจารย์ผู้สอน

    • ทีมคณาจารย์
    • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คอร์สแนะนำ