ช่วงเวลาเรียนสำหรับบุคคลทั่วไป
เกี่ยวกับรายวิชา
วิชา หลักและวิธีบรรเลงเพลงพระราชพิธี จะนำเสนอความรู้เกี่ยวกับหลักทฤษฎี และนำไปบูรณาการใช้เป็นแนวทางปฏิบัติจริงกับการจัดตั้งวงดนตรี การจัดงานพระราชพิธี รัฐพิธี งานพิธีกรรม สามารถเข้าใจถึงหลักและระเบียบวิธีการบรรเลงเพลงพระราชพิธีได้อย่างถูกต้อง หัวข้อวิชา หลักและวิธีบรรเลงเพลงพระราชพิธี บทที่ 1 มูลฐานร่องรอยทางวัฒนธรรมทางดนตรีพิธีกรรม ดนตรีพระราชพิธี 1.1 การประโคมบัณเฑาะว์ สังข์ ฆ้องชัยประกอบพิธีกรรมการบวงสรวง บทที่ 2 ความหมายของบทเพลงพระราชพิธี 2.1 วงเครื่องประโคม 2.2 วงปี่พาทย์พิธี บทที่ 3 ดนตรีในพระราชพิธี รัฐพิธี พิธีกรรม 3.1 งานพระราชพิธี รัฐพิธี และพิธี 3.2 ธรรมเนียมการรับเสด็จและข้อปฏิบัติในการเข้าเฝ้าฯ 3.3 ดนตรีในพระราชพิธี 3.3.1 พระราชพิธีสิบสองเดือนและดนตรีที่เข้าไปเกี่ยวข้องตามแบบโบราณ 3.3.2 รัฐพิธีและพระราชพิธีที่มีดนตรีเข้าไปเกี่ยวข้องตามปฏิทินหลวง พ.ศ. 2557 บทที่ 4 แนวทางปฏิบัติการจัดการวงดนตรีในงานพระราชพิธี รัฐพิธี พิธีกรรม 4.1 การขอพระราชทางเชิญเสด็จพระราชดำเนิน 4.2 ระเบียบการบรรเลงดุริยางค์ในงานพระราชพิธี รัฐพิธี งานพิธี บทที่ 5 ดนตรีประโคม 5.1 วงเครื่องประโคม 5.2 รูปแบบวงเครื่องประโคมและเครื่องแต่งกายเจ้าพนักงาน 5.3 วงปี่พาทย์ 5.4 บทเพลงพระราชพิธี บทที่ 6 กองพระราชพิธี งานเครื่องสูงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับดนตรีพระราชพิธี 6.1 ประวัติบุคคลที่ปฏิบัติหน้าที่ปัจจุบันในวงเครื่องประโคมและงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 6.2 การปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับงานบริหารและจัดการปัจจุบัน 6.3 วิธีและสายสืบทอดการปฏิบัติหน้าที่ในวงเครื่องประโคมปัจจุบัน 6.4 ทัศนคติในการสืบทอดงานเครื่องสูง
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การวัดและประเมินผล
มีการวัดและประเมินผลผ่านแบบทดสอบย่อย (Quiz) และแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยจะแบ่งเป็นคะแนนจาก Quiz เท่ากับ 50 คะแนน และคะแนนจาก Posttest เท่ากับ 50 คะแนน ทั้งนี้ผู้เรียนต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60 ขึ้นไปจึงจะสามารถขอรับ Certificate of Completion ได้
หมายเหตุ
1. ผู้เรียนจะมีสิทธิ์ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน (Course Progress) มากกว่า 80% ขึ้นไป
2. ผู้เรียนจะสามารถทำข้อสอบ Posttest ได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น
อาจารย์ผู้สอน